สารชีวโมเลกุล สารชีวโมเลกุลเป็นสารที สิ งมีชีวิตใช้ในการดํารงชีวิต ซึ งจําแนกได้เป็น 4 ประเภทได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ลิปิด และกรดนิวคลีอิก ซึ งทั0งสี ประเภทเกี ยวข้องกับการดํารงชีวิตคือ ช่วยให้ ร่างกายเจริญเติบโต ให้พลังงานในการทํากิจกรรมต่างๆ ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และช่วยถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมอาหารที รับประทานเข้าไปมีสารอาหาร 6 ประเภทคือ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํ0า ซึ งแร่ธาตุ วิตามิน และนํ0าไม่ใช่สารชีวโมเลกุลเนื องจากเป็นสาร อนินทรีย์ สารชีวโมเลกุลที กล่าวไปทัอง 4 ประเภทที กล่าวไปนี0มีโครงสร้าง สมบัติ การเกิดปฏิกิริยา อย่างไร จะได้ศึกษาจากบทนี
 โปรตีน (Protein) โปรตีนเป็นสารประเภทพอลิเพปไทด์ที มีโครงสร้างของโมเลกุลที ซับซ้อน มีธาตุประกอบ หลักซึ งประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน โปรตีนเป็นสารที พบมากที สุด ในสิ งมีชีวิตมากกว่าครึ งหนึ งของนํ0าหนักแห้ง (dry weight) ของเซลล์ทั วไป โปรตีนมีบทบาทสําคัญ ในกระบวนการทางชีวเคมีทุกชนิด ดังนั0นความรู้เกี ยวกับโครงสร้างและการทํางานของโปรตีนจึงมี ความสําคัญมาก 3.1.1 กรดอะมิโนและพันธะเพปไทด์ เมื อสลายโปรตีนด้วยกรดจะได้สารอินทรีย์ง่ายๆ เรียกว่า กรดอะมิโน (amino acid) ซึ งมี สูตรโครงสร้างเป็น NH2 -CHR-COOH ในสูตรโครงสร้างนี0อะตอมคาร์บอนในตําแหน่งอัลฟาจะเป็น อะตอมคาร์บอนไม่สมมาตร (asymmetric carbon atom) ดังนั0นกรดอะมิโนทุกตัว นอกจากไกลซีน จะมีสเตริโอไอโซเมอร์ได้สองชนิด คือ D- และ L- โดยที กรดอะมิโนในธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นชนิด L-isomerโปรตีนเกิดจากกรดอะมิโนสร้างพันธะด้วยพันธะเพปไทด์ เชื อมต่อกันระหว่างโมเลกุล ซึ งมี การจัดเรียงลําดับ ชนิด และจํานวนที แตกต่างกัน เกิดเป็นโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ที มีมวล โมเลกุลมาก H2N CH C CH3 O H N CH C CH3 OH O H2N CH C CH3 OH O H N CH C CH3 OH O H Peptide bond + H2O โปรตีนเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที เกิดจากการรวมตัวของกรดอะมิโนจํานวนมาก โปรตีนมี หลายชนิด โปรตีนนับหมื นชนิดในร่างกายประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิดเป็นโครงสร้างพื0นฐาน กรดอะมิโนบางชนิดร่างกายสังเคราะห์ขึ0นเองได้ บางชนิดร่างกายสังเคราะห์ขึ0นเองไม่ได้เรียก กรดอะมิโนที สังเคราะห์ขึ0นเองไม่ได้นี0 ว่า กรดอะมิโนจําเป็ น ซึ งได้แก่ เมไทโอนีน ทรีโอนีน ไลซีน เวลีน ลิวซีน ไอโซลิวซีน ฟีนิวอะลานีน ทริปโตเฟน ฮีสติดีน และอาร์จีนีน เมื อ พิจารณากรดอะมิโนแต่ละชนิดจะมีองค์ประกอบพื0นฐานที เหมือนกันคือ หมู่คาร์บอกซิลิก และ หมู่เอ มีน ซึ งหมู่อะมิโนเหล่านี0สามารถแบ่งออกเป็น4 ชนิดหลักได้แก่hydrophobic polar acidic และ basic
คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
อ้างอิง http://www.mwit.ac.th/~t2040113/data/Biochemistry/Biochem_5ed.pdf
HOMEPAGE

ความคิดเห็น